ชอบทานบุฟเฟ่ต์มื้อดึกค วรรู้ไว้ ไ ม่ใช่แค่อ้ว น แต่ยังส่งผลเสี ยต่อสุขภาพ

นายแพทย์ บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ ที่เป็นทั้งหมอ เป็นทั้งคน ป่ ว ย ด้วยโ ร คยอดนิยมในปัจจุบัน และรักษาตนเองจนหาย อีกทั้งเป็นเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนที่ได้รักษาคนไ ข้มากมาย ได้นำประสบการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมา มาบรรยายสรุปถึงข้อดีของการไ ม่ทานมื้อเย็นว่า ส่งผลดีต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง

โดยให้คำอธิบายไว้ว่า การกินมื้อเย็น โดยเฉพาะมื้อค่ำอย่างบุฟเฟ่ต์ชุดใหญ่ตอนกลางคืนนั้น เป็นมื้อที่เร่งกระบวนการเสื่ อมของร่างกายให้เร็วขึ้นไปอีก 

โดยเฉพาะพฤติกรรมการกินของคนในสมัยนี้ บวกกับวิถีชีวิตที่ต้องแข่งกับเวลาในการเข้างาน ทำให้ไ ม่ค่อยทานมื้อเช้ากัน มื้อเที่ยงก็ต้องรีบทานรีบไปเข้างานต่อในช่วงบ่าย และนิยมออกไปเลี้ยงฉลองทานมือดึกแบบจัดหนักกันเป็นเรื่องปกติ

กินอิ่มกลับมาก็นอนเลย อาหารยังย่อยไ ม่หมด ก็เป็นกร ดไหลย้อนตามมาอีก ใครที่นอนแล้วตื่นเช้ามาแส บคอ คอแห้ง คันคอ นั่นแหละ อาการเริ่มต้นของก รดไหลย้อน

ถ้าเปรียบตัวเราเป็นรถยนต์ ตื่นเช้ามาต้องเติมน้ำมั นก่อน หรือกินมื้อเช้า รถจึงจะวิ่งได้ หากถึงเที่ยงน้ำมั น ยังไ ม่หมด เติมอีกครั้ง ถึงเย็น ก่อนนอน ก็ยังไ ม่หมด ( ให้ดูพระเป็นตัวอย่าง ไ ม่ทานมื้อหนักๆ หลังเที่ยงเป็นต้นไป และเข้านอนเร็ว )

เพราะฉะนั้น ถ้ากินมื้อเช้า มื้อเที่ยง ให้พอดีกับความต้องการของร่างกาย พลังงานยังเหลือจนถึงเย็นแน่นอน ไ ม่จำเป็นต้องไปกินเพิ่มอีก เพราะ ส่วนที่เหลือก็จะถูกเก็บไว้เป็นไ ขมัน ทำให้  อ้ ว น

เวลานอนเป็นเวลาที่ร่างกายต้องพักผ่อน เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายต้องซ่ อมแซมตัวเอง ต้องฟื้นฟูอวัย วะต่างๆ ในร่างกาย และขับสา ร พิ ษต่างๆออกจากร่างกาย หากเราทานมื้อเย็นร่างกายจะไ ม่ได้พักผ่อน ไ ม่ได้ขับของเสี ยออกจากร่างกาย

อีกทั้งยังเข้าไปสะสมเพิ่ม เพราะอาหารที่เราเพิ่มเข้าไปในมื้อเย็นแต่ย่อย ร่างกายนำพลังงานไปใช้ไ ม่หมด ก็จะนำไปเก็บในที่ต่างๆ โดยตั บเป็นผู้ทำงานนี้ ถ้าพลังงานเหลือมาก การเอาไปเก็บในที่ต่างๆ ก็มาก ทำให้ อ้ ว น

แน่นอนถ้าเก็บไ ม่หมดโดยเฉพาะพวกไขมั นตัวโตๆ จะต้องค้างอยู่ใน ห ล อ ด เ ลื อ ด ถ้าค้างสะสมมากเท่าใด รู ห ล อ ด เ ลื อ ด ก็จะเล็กลงทุกวัน ไปเลี้ยงอวั ยวะต่างๆได้น้อยลง อวั ยวะทั้งหลาย ก็จะเสื่อ มสภาพเร็วขึ้น หรือ แ ก่ เ ร็ ว ขึ้ น

ถ้าวันไหน อุ ด ตั น เช่น ถ้าตันที่ส มอง จะกลายเป็นคนพิกา ร อัม พา ต ครึ่งซีก ถ้าตันที่กล้า มเนื้ อหั วใ จ ก็อาจจากไปโดยไ ม่ทันตั้งตัว

ดังนั้น มื้อเย็นจึงเป็นมื้อ  อั น ต ร า ย  เป็นมื้อ ต า ย ผ่ อ น ส่ ง ยิ่งกินมื้อเย็นมาก ยิ่งผ่อนส่งมาก

ถ้าเป็นไปได้ไ ม่ทานมื้อเย็นได้จะเป็นเรื่องดี ร่ายกายเสื่อ มช้า อายุยืน กินสายกลาง คือ กินมื้อเช้า และ มื้อเที่ยง งดมื้อเย็น

มื้อเย็นจึงเป็นมื้อที่ไปรบกวนการทำงานของอวัย วะทุกส่วนในร่างกาย ร่ายกายต้องใช้พลังงานอย่างหนั กในการเผ าผล าญ ยิ่งกินในปริมาณที่เยอะ ก็ยิ่งเร่งให้ร่างกายทำงานหนักกว่าปกติ ฉะนั้น จึงหมายความว่า การกินมื้อเย็นมาก ยิ่ ง ต า ย เ ร็ ว

การไ ม่กินอาหารมื้อเย็นเป็นเรื่องที่ต้องเอาชน ะใ จตัวเองอย่างมาก ถ้าใครทำได้จะตั ดทั้งกิเล ส สุขภาพดี อายุยืน ได้ประโยชน์ทั้งกาย และใ จ แต่อย่ าทำทันที เพราะร่างกายอาจปรับตัวไ ม่ทัน ต้องค่อยๆ เป็นค่อยไป โดยเริ่มจากฝึกกระเพ าะให้เกิดความเคยชิน

วิธีฝึกมีด้วยกัน 3 วิธี ที่ได้ผลดังนี้

1 ค่อยๆลดปริมาณอาหารมื้อเย็นลง เช่น ลดกินข้าวจาก 2 จาน เหลือ 1 1/2 จาน สัก 3-4 เดือน ให้ร่างกายค่อยๆปรับตัว ต่อไปไ ม่กินข้าวเลยกินแต่กับข้าว ต่อไปกินผักผลไม้ สุดท้า ยงดอาหารเย็น โดยมีข้อแม้ว่า หลัง 6 โมงเย็นแล้วห้ ามกินอาหารใดๆ ทั้งนั้น ยกเว้นน้ำเปล่า

2 ร่นเวลากินอาหารเย็น เช่น จาก 2 ทุ่มมากิน 1 ทุ่ม ต่อไปเลื่อนเป็น 6 โมงเย็น 5 โมงเย็น 4 โมงเย็น 3 โมงเย็น กระทั่งเวลาในการกินรวมเป็นมื้อเที่ยงมื้อเดียว

3 ใช้เม็ดแมงลัก 2 ช้อนโต๊ะใส่ในถ้วยน้ำแกงหรือน้ำเปล่า คนแล้วดื่มทันที ดื่มน้ำตามอีก 4-5 แก้ว

เมื่อไ ม่ทานมื้อเย็น ร่างกายก็มีเวลาพักผ่อนมากขึ้น ไ ม่ต้องไปย่อยอาหาร ตั บอ่อนก็ไ ม่ต้องทำงานหนัก (หน้าที่คือขับส าร พิ ษต่างๆ ที่มากับอาหารออกจากร่างกาย ) และ พิ ษ ในอาหารที่ติดมากับมื้อเช้า มื้อเที่ยง ก็จะค่อยๆ ถูกขับออกไปหมดได้ทันในตอนค่ำ ทำให้ร่างกายได้พักผ่อน และฟื้นฟู ซ่อมแซมตัวเองอย่างเต็มที่

ขอบคุณข้อมูลความรู้ดีๆจาก  นายแพทย์ บุญชัย อิศราพิสิษฐ์

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

8 × 1 =

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า