รู้จัก โ ร ค พบบ่อย พ ร า ก ชีวิต

รู้จัก โ ร ค พบบ่อย พ ร า ก ชีวิต “ตั้ว ศรัณยู” ท้องอืด ท้องผูก ไม่รู้ตัวพบแพทย์ช้า อยู่ไม่เกิน 6 เดือน

เรื่องเศร้า ช็ อ ก ว งการบันเทิง เมื่อนักแสดงรุ่นใหญ่ “ตั้ว ศรัณยู วงษ์กระจ่าง” ได้เสียชีวิตด้วย โ ร ค มะ เ ร็ ง ตับ ซึ่งทราบโดยบังเอิญเนื่องจากประสบอุบัติเหตุ เมื่อตรวจร่างกายโดยละเอียดก็พบ ม ะ เ ร็ ง ตั บ และเข้ารับการรักษาเรื่อยมา จนอาการดีขึ้น ก่อนจะทรุดลงกะทันหันและจากไปอย่างสงบท่ามกลางความเสียใจของครอบครัว

ทีมข่าวช่อง 3 ออนไลน์ จะพาไปทำความรู้จักกับ “โ ร คม ะ เ ร็ งตั บ ” ซึ่งเป็นโรคที่แสดงอาการสุดแสนธรรมดา พร้อมแนะนำวิธีสังเกตอาการอันเป็นสัณญาณเตือน และวิธีป้องกันที่คุณทุกคนสามารถทำได้

โดยทีมข่าวพูดคุยกับ นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เกี่ยวกับรายละเอียดของโรคดังกล่าว ซึ่งทีมข่าวจะไล่เรียงให้คุณเข้าใจง่ายๆ ดังต่อไปนี้

สาเหตุของ “โ ร ค ม ะ เร็ ง  ตั บ”

นายแพทย์สมศักดิ์ กล่าวว่า ม ะเ ร็ ง ตั บ เป็นสาเหตุการ ต า ย อันดับหนึ่งของกลุ่มโ ร ค ม ะ เ ร็ ง ในประเทศไทย ซึ่งมีผู้เสียชีวิตประมาณปีละ 16,000 ราย โดยมีสาเหตุของ โ ร ค  ดังนี้

– ดื่ม สุ ร า ซึ่งจะทำให้เป็น โ รค ตั บ แข็ง และจะส่งผลให้เกิดเป็น ม ะ. เร็ ง ตั บ ได้

– รับประทานอาหารดิบ หรือ ปลาดิบไทย โดยเฉพาะปลาร้าดิบ ซึ่งจะมีพยาธิใบไม้ตับ โดยจะเป็นสาเหตุหลักก่อให้เกิดมะเร็งตับในท่อน้ำดี

– ผู้ที่ ป่ ว ย เป็นโ ร ค ไ ว รั ส ตั บอั ก เ ส บ บีและซี ซึ่งจะทำให้เป็น โ ร ค ตั บ แข็ง และจะเป็น โ ร ค มะ เ ร็ ง ตับต่อไป

– ผู้ที่รับประทานเนื้อสัตว์ที่มีสารเร่งเนื้อแดง

 อาการระยะเริ่มแรก

– แน่นท้อง

– ท้องอืด

– ท้องเฟ้อ

– ระยะลุกลาม

– ตัวเหลือง

– ตาเหลือง

– อ่อนเพลีย

– น้ำหนักลด

– ปวดบริเวณชายโครงขวาซึ่งเป็นตำแหน่งของตับ

– คลำพบก้อนบริเวณชายโครงด้านขวา

– ท้องโต หรืออาจจะขาบวม

รู้ได้อย่างไรว่า ตัวเอง เ สี่ ย ง เป็น ม ะ เ ร็ ง  ตั บ?

นายแพทย์สมศักดิ์ กล่าวกับทีมข่าวว่า หากแน่นท้อง ท้องอืด ท้องผูก เมื่อไปพบแพทย์ ในระยะแรกแพทย์อาจจะยังไม่สงสัย ซึ่งแพทย์จะทำการตรวจร่างกายในเบื้องต้นก่อน ซึ่งหากคลำที่ชายโครงด้านขวาแล้วไม่พบก้อนเนื้อ ก็อาจจะวินิจฉัยว่าเป็นโรคกระเพาะ แล้วให้ย าไปรับประทาน

หากผ่านไป 1 สัปดาห์แล้วยังไม่หาย จะต้องขอทำอัลตร้าซาวน์ช่องท้อง เพื่อตรวจความผิดปกติ ซึ่งวิธีการวินิจฉัย คือ ทำอัลตร้าซาวน์ และซีทีสแกน

– วิธีรักษา

– หากพบเร็วในระยะเริ่มแรก ก็จะสามารถรักษาให้หายขาดได้ โดยการ ผ่ า ตั ด เ อาเซ ล ล์ ม ะ เ ร็ ง ออก และให้การรักษาโดย เ ค มี บำบัด

– หากพบในระยะลุกลาม จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ยังสามารถรักษาโดยการพยุงอาการด้วยเคมีบำบัด หรือการรักษาอื่นๆ เพื่อยืดเวลาให้สามารถอยู่ได้นานขึ้น ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษา บางรายอาจอยู่ได้ไม่ถึง 6 เดือน แต่หากได้รับการรักษาก็อาจจะมีชีวิตอยู่ได้ราว 1-3 ปี

– แนวทางป้องกัน

– ฉี ด วั ค ซี น ป้องกัน ไ ว รัส ตั บอักเสบบี

– ไม่รับประทานอาหารดิบ หรือปลาดิบ

– ไม่ดื่มสุรา

– ไม่รับประทานอาหารที่มีสารเร่งเนื้อแดง

– ออกกำลังกาย

– รับประทานอาหารที่มีประโยชน์

– หลีก เ ลี่ย ง ความ เ ค รี ยด 

– หมั่นตรวจเช็กร่างกาย

– กลุ่ม เ สี่ ย ง

– ผู้ที่มีคนในครอบครัวเป็น ม ะ เ ร็ งตั บ ถึงแม้ ม ะ เ ร็ง ตั บ จะไม่ใช่โ ร ค กรรมพันธุ์แต่ก็มีโอกาสที่จะได้รับการถ่ายทอดยีนส์บางส่วน ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเกิด โ ร ค ม ะ เ ร็ง ตั บ

– ผู้ที่มีพฤติกรรม เ สี่ ย งต ามสาเหตุการเกิด โ ร ค ข้างต้นที่กล่าวมา.

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

− 3 = 5

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า