นอกจากชาเย็นจะเป็นเครื่องดื่มที่หลายๆ คนโปรดปราน จนเลิกดื่มไ ม่ได้ ถึงขั้นมีการตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ว่า “ทำอย่างไรถึงจะเลิกดื่มชาเย็นได้” ความอร่อยหวานมั นของชาเย็น ยังเต็มไปด้วยน้ำตาล น มข้นหวาน ที่ดื่มบ่อยๆ อาจทำให้น้ำตาลในเลื อดสูง เสี่ ยงโร คเบ าหว านได้อีกด้วย
แต่ที่น่ากลั วไปกว่านั้นคือข้อมูลที่แชร์กันในโลกออนไลน์ว่า “ชาเย็นมีส่วนทำให้เป็นโร คนิ่ วในไ ตได้” เรื่องนี้ เฟซบุ๊คเพจ “เ ชื่อแมวเหอะ (รู้ไหมว่าตัวเองโดนห ลอก)” ยืนยันว่า เป็น “ความจริง” เพราะชาเย็นมีกร ดออกซาลิก ที่เป็นสาเ หตุที่ทำให้เกิดนิ่ วในไ ตได้จริง
หากแต่ การดื่มเพียงปริมาณเล็กน้อย 1-2 แก้วต่อวันนั้น ไ ม่ได้ทำให้เกิดอันตร ายนี้ (นอกจากเรื่องของน้ำตาลสูง) เพราะในต่างประเทศมีกรณีที่ชาอายุ 56 ปี เป็นโร คไ ต และมีข้ อสันนิษฐานว่าเกิดจากนิสัยการดื่มชา 16 แก้ว (แก้วละ 8 oz) ต่อวัน ซึ่งเป็นปริมาณมากเกินไปนั่นเอง
แต่ถึงกระนั้น เจ้ากร ดออกซาลิกที่ว่านี้ ไ ม่ได้มีแต่ในชาเย็นแต่เพียงอย่างเดียว เพราะยังพบในผัก และผลไม้มากมาย เช่น กระชาย ใบชะพลู ใบกระเจี๊ยบ ขิงอ่อน ตะไคร้ ใบยอ ใบโหระพา มั นเทศ รวมไปถึง กล้ว ยไข่ พุทรา สัปปะรด และอื่นๆ อีกมากมาย
หากอยากลดความเป็นพิ ษของก รดออกซาลิกในร่างกาย ให้รับประทานเมล็ดฟักทอง อาหารเสริมฟอสฟอรัส หรืออาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง เพราะฟอสฟอรัสจะช่วยลดการก่อตัวของผลึกแคลเซียมออกซาเลท และลดปริมาณผลึกจากบริเวณที่มีการสะสมต่างๆ ให้น้อยลง
ดังนั้นจะเห็นว่า อาหารการกินโดยทั่วไปของเราพบกร ดนี้อยู่ทั่วไป ทางที่ดีเราควรทานอาหารให้หลากหลาย ไ ม่ทานอะไรซ้ำๆ เดิมๆ นานๆ เพื่อหลี กเ ลี่ยงการได้รับก รด หรือสา รบางอย่างจากอาหารชนิดเดิมๆ เป็นประจำ จนสะสมอยู่ในร่างกายมากเกินไปจนให้โท ษกับเราได้ค่ะ
ดื่มชาเย็นทุกวัน อันตร ายถึงขั้นเส้นเลื อ ดสม องตี บจริงหรือ ?
เกี่ยวกับประเด็นนี้ สำนักงานคณะกร รมการอาหารและย า (อย.) ได้ชี้แจงว่า จริง ๆ แล้วการดื่มน้ำเย็น แม้กระทั่งชาเย็น ก็ไ ม่ได้ทำให้เลื อดหนืด เลือ ดข้น เส้นเลื อดในสม องตี บอย่างที่แชร์กันเลยนะคะ เพราะเมื่อน้ำเย็น น้ำแข็ง ชาเย็น เข้าสู่ร่างกาย อาหารเหล่านี้ก็จะถูกปรับอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว ให้มีอุณหภูมิพอ ๆ กับอุณหภูมิปกติของร่างกาย คือประมาณ 37-38 องศาเซลเซียสอยู่แล้ว ดังนั้น การดื่มน้ำเย็น ๆ จึงไ ม่เกี่ยวข้องกับอาการเลือ ดข้น หรือเส้นเลือ ดในสม องตี บจนทำให้เป็นอั ม พ ฤ กษ์ อัมพา ต แต่อย่างใด
ขอขอบคุณ
ข้อมูล :เฟซบุคเพจ เชื่ อแมวเหอะ(รู้ไหมว่าตัวเองโดนหล อก),สำนักโภชนาการ,สุมนต์ทิพย์ คงตันจันทร์ฟัก, 2551. การศึกษาปริมาณกร ดออกซาลิกที่ก่อให้เกิดโร ค นิ่ วจากพืชที่เก็บเกี่ยวในฤดูกาลต่างๆ กัน, สำนักงานคณะกร รมการอาหารและย า