9 โ ร ค ติ ดต่ อได้จากการกินแก้ว หลอดเดียวกัน
หากไ ม่อยากติดโร ค อ ย่าดื่มน้ำจากแก้ว หรือหลอดเดียวกันกับคนอื่น เพราะนอกจากการใช้อุปกรณ์ในการรับประทานอาหารร่วมกัน เช่น ช้อน ส้อม และตะเกียบแล้ว แก้วน้ำ และหลอดดูดน้ำก็ไ ม่ควรใช้ร่วมกันกับคนอื่นด้วย เพราะอาจติดโ รคติดต่อที่ผ่านทางน้ำล ายได้
ทำไมถึงห้า มกินน้ำแก้วเดียวกันกับคนอื่น ?
การกินน้ำแก้วเดียวกัน หรือหลอดดูดน้ำหลอดเดียวกันกับคนอื่น อาจเป็นการแพ ร่เ ชื้อของโร คติดต่อหลายโร คที่ติดกันได้ผ่านทางน้ำล าย แม้ว่าจะกินจากขอบแก้วคนละฝั่ง ก็ยังมีโอกาสที่น้ำลา ยจะปะปนอยู่ในเครื่องดื่มแก้วนั้นได้
9 โร คติดต่อได้จากการ “กินแก้วเดียวกัน”
อ.พญ. วรรษมน จันทรเบญจกุล โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ให้ข้อมู ลเ อาไว้ ดังนี้
1 ไ ข้ห วัด ไ ข้ห วัดใหญ่ และไ ข้หวั ดชนิดอื่น ๆ รวมถึงโร คปอ ดอั กเ สบจากเชื้ อไ วรั สโ คโ รน า อีโ บล า และซ ารส์ ด้วย
2 คางทู ม
3 ไอกร น
4 หั ด หั ดเยอ รมั น
5 คอตี บ
6 ไวรั สตั บอักเส บเ อ และ อี
7 กลุ่มโ รคมือ เท้ า ปาก และโร คเฮอแปงไจนา (โร คติดต่อทีมักเกิดขึ้นกับเด็ กเล็ ก ทำให้มีไ ข้ มีแผ ลในปาก)
8 เริ มที่ปาก
ถ้าอยู่ในสถานการณ์ที่ต้องแชร์ภาชนะเครื่องดื่มกัน ควรทำอย่างไร ?
การกินอาหารที่บ้านเพื่อนแบบที่ต้องแชร์ภาชนะเครื่องดื่มร่วมกัน เช่น แก้ว ขันน้ำ ควรหลี กเลี่ ยงโดยเด็ ดข าด ดื่มน้ำจากหลอดดูดน้ำของตัวเองเพียงหลอดเดียว และถ้าสะดวก ควรพกแก้วน้ำส่วนตัวติดตัวไว้ในกระเป๋า สามารถใช้พกพาน้ำดื่มของตัวเองได้ตลอดเวลา ใช้เติมเครื่องดื่มที่ร้านขายกาแฟ รวมถึงในกรณีที่ไ ม่มีแก้วน้ำเพียงพอในหลาย ๆ สถานการณ์อีกด้วย
ที่มา อ.พญ. วรรษมน จันทรเบญจกุล โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย,โรงพย าบาลบำรุงราษฎร์,โรงพย าบาลสมิติเวช