อาหารเสี่ ยงไขมันพอกตั บ โร คร้ ายที่เป็นโดยไม่รู้ตัว

อาหารเสี่ ยงไขมันพอกตั บ โร คร้ ายที่เป็นโดยไม่รู้ตัว

รู้หรือไม่ว่า 25% ของประชากรไทยมีโ รคไขมันพอกตั บอยู่ โดยที่คนส่วนใหญ่มักจะไม่รู้ตัว ผู้ป่ วยที่เป็นโร คไขมันพอกตั บประมาณ 1 ใน 4 จะกลายเป็นโร ค ตั บอักเ สบ และอาจลุกลามจนเป็นโร คมะเ ร็งตั บ โดยโอกาสเกิดโร คไขมันพอกตั บนั้น สามารถเป็นได้ทั้งเ พศหญิง เพ ศชาย และเ ด็กที่มีโ รคอ้วน

ปัจจุบันโ รคไขมันพอกตั บยังไม่มีย ารักษา การปรับพฤติกรร มการรับประทานอาหาร และออกกำลังกายจึงเป็นการป้องกันที่ดีที่สุด อ.พญ.มณีรัตน์ ชยานุภัทร์กุล อาจารย์ประจำภาควิชาสรีรวิทย า คณะแพทยศาสตร์ และอาจารย์พิเศษหน่วยทางเดินอาหาร โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มีคำแนะนำเกี่ยวกับการรับประทานอย่างไรให้ปลอดภั ยจากไขมันพอกตั บมาฝากกัน

อาหารเ สี่ยง “ไขมันพอกตั บ”

คาร์โบไฮเดรต

แป้ง น้ำตาล ข้าว เส้นก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง พิซซ่า ของหวาน น้ำอัดลม น้ำหวาน และรวมถึงน้ำผลไม้ (มีน้ำตาลฟรุกโตสสูง) และผลไม้ที่มีน้ำตาลสูง เช่น มะม่วงสุก ทุเรียน

ไขมันอิ่มตัวสูง

อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง ได้แก่ ของทอด ไอศกรีม ฯลฯ เด็ กอ้วนก็เ สี่ยงจะเป็นไขมันพอกตั บได้ตั้งแต่วัยรุ่นเช่นกัน ดังนั้นควรระมั ดระวั งในการกินของทอด ของหวาน ไม่ให้กินมากเกินไปด้วย

นอกจากนี้ พฤติก รรมในการใช้ชีวิตเอื่อยเฉื่อย ไม่ค่อยออกกำลังกาย ก็เพิ่มความเสี่ ยงในการเป็นไขมั นพอกตั บ เช่นกัน

อาการของไขมันพอกตั บ

ผู้ป่ว ยส่วนใหญ่ไม่มีอาการปรากฏให้เห็นชัดเจน มักเจอโดยบังเอิญเมื่อเข้ารับการตรวจร่างกายประจำปี แต่ในบางรายอาจพบว่ามีอาการอ่อนเพลียง่าย หรือปว ดแน่นบริเวณใต้ชายโครงขวา ยกเว้นมีภาวะอ้วน ซึ่งเป็นอ้วนแบบมีพุง และหากผู้ป่ วยมีอาการตั บแข็งแล้ว อาจตรวจพบลักษณะของโร คตั บเรื้ อรังด้วย

วิธีป้องกันไขมันพอกตั บ

ลดน้ำหนัก

ส่วนใหญ่คนที่เป็นไขมันพอกตั บมักมีน้ำหนักเกินมาตรฐาน หรือเป็นโร คอ้วน มีงานวิจัยพบว่าการลดน้ำหนักลงกว่าเดิม 10% ช่วยลดปริมาณไขมันที่อยู่ในตั บได้

ลดการกินคาร์โบไฮเดรต

ลดปริมาณการกินอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต เช่น ข้าว เส้นก๋วยเตี๋ยว รวมถึงอาหารหวาน และเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงต่างๆ โดยเลือกกินคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนให้มากขึ้น เช่น ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต และใน 1 มื้อให้เป็นคาร์โบไฮเดรต 30% ผักและโปรตี น 50%

ขอขอบคุณข้อมูล :อ.พญ.มณีรัตน์ ชยานุภัทร์กุล อาจารย์ประจำภาควิชาสรีรวิทย า  คณะแพทยศาสตร์ และอาจารย์พิเศษหน่วยทางเดินอาหาร โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

− 5 = 1

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า