‘รถของพ่อ’ มีความลั บ เ ชื่อว่าหลายคนไ ม่เคยรู้

‘รถของพ่อ’ มีความลั บ เ ชื่อว่าหลายคนไ ม่เคยรู้

แม้จะมีเรื่องราวสุดประทับใ จเกี่ยวกับพ่อหลวงรัชกาลที่ 9 มากมาย แต่เชื่ อได้ว่าเรื่องนี้ ยังมีลู กๆ ของพระองค์อีกหลายคนที่ไ ม่เคยรู้ โตโยต้าเป็นแบรนด์รถสัญชาติญี่ปุ่นที่คนไทยต่างก็นิยมขับขี่ และมีอยู่รุ่นนึงที่ คิดว่าตอนนี้หากใครครอบครองก็คงราคาสูงลิ่ว นั่นก็คือ โตโยต้า โซลูน่า รุ่นอักษร-ตัวเลข เป็นเลขไทย

เรื่องราวนี้ ได้ถูกแบ่งปันด้วยความประทับใ จจากคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานกร รมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกั ด คุณนินนาท เล่าว่า เมื่อปี พ.ศ. 2540 หลายคนคงจำกันได้ว่ามีวิก ฤติเศ รษฐกิจ ‘ฟองสบู่แ ตก’ และหนังสือพิมพ์ก็ดันลงหน้าหนึ่งว่าบริษัทโตโยต้าจะปิดตัว และลอยแพ พนักงานกว่า 5,500 คน ซึ่งเป็นที่ย่ำแ ย่ต่อภาพลักษณ์บริษัทและเข ย่าขวัญกำลังใ จของพนักงานให้เสี ยห ายไปตามๆกัน

ในบ่ายวันเดียวกันนั้น ทางโตโยต้าจึงรีบจัดงานแถลงข่าวเพื่อยืนยันว่าจะไ ม่ได้ปิดตัว และต่อมาก็มีเห ตุการณ์ไ ม่คาดคิดเกิดขึ้น ในเช้าวันที่ 6 พ.ย. 2540 มีสายโทรศัพท์ต่อตรงเข้ามาถึงโตโยต้า เป็นสายจากเลขานุการส่วนพระองค์ แจ้งว่า

‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์สั่งซื้อรถโตโยต้าโซลูน่า 1 คัน โดยให้พนักงานใช้มือทำก็ได้ ไ ม่ต้องใช้เครื่องจักร ไ ม่ต้องรีบ พนักงานคนไทยจะได้มีงานทำไปนานๆ’

สิ้นคำรับสั่ง ทางโตโยต้ารีบประชุมงานกันอย่างด่วนจี๋ เมื่อเข้าใ จตรงกันว่าสิ่งที่พระองค์รับสั่งนั้นมีความหมายว่าอย่างไร โตโยต้าจึงรีบยืนยันกับสื่อมวลชนอีกครั้งว่าไ ม่มีแผนการจะปิดบริษัท และพนักงานจะไ ม่ถูกลอยแพ เพียงเท่านั้นข่าวลือที่ก่อความเสี ยขวัญให้แรงงานคนไทยก็สล ายไป

และเมื่อเป็นพระราชประสงค์ ทางโตโยต้าจึงจัดทำรถยนต์โตโยต้า รุ่นโซลูน่า อักษร-ตัวเลขไทย สีฟ้าพิเศ ษ จัดมอบถวายให้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และทำการผลิตรุ่นอักษร-เลขไทยนี้ วางขายจริงเพียง 600 คันเท่านั้น แต่เป็นสีน้ำตาลอ่อน-เข้ม และสีเงินอมฟ้า

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ยังได้พระราชทานแนวพระราชดำริ ให้โตโยต้าจัดตั้งโรงสีข้าวตัวอย่างเพื่อช่วยเหลือชาวนา โดยการรับซื้อข้าวจากชาวนาในราคายุติธร รม นำมาสีด้วยคุณภาพ และข้าวที่ได้นั้นก็ให้นำมาขายแ ก่พนักงานในราคาย่อมเยา ส่วนแกลบ รำ ก็ให้ขายราคาประหยัดแ ก่เกษตรกรชุมชนที่เลี้ยงห มู โตโยต้า จึงได้จัดตั้งบริษัท ข้าวรัชมงคล ขึ้นนั่นเอง

เป็นเรื่องเล่าถึงความประทับใ จที่ฟังเมื่อไร ก็ซาบซึ้งเสมอ

ที่มา สา รสภาวิศวก รรม ฉบับเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2550

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

9 + 1 =

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า