เงินอุดหนุนบุตร เดือนมิถุนายนไ ม่เข้าบัญชี ต้องตรวจสอบยังไง

เงินอุดหนุนบุตร เดือนมิถุนายน 2563 เข้าบัญชีกันไปแล้วเมื่อวันที่ 10 มิ.ย. โดยเป็นการทยอยโอนให้กันตลอดทั้งวัน แต่ก็มีบางคนที่ตรวจพบว่า เงินยังไ ม่เข้าบัญชีตามที่แจ้งไว้

ต้องทำยังไง เงินอุดหนุนบุตร ไ ม่เข้า

เฟซบุ๊กเพจ “โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ กแรกเกิด” ได้ออกมาโพสต์ข้อความ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่องการตรวจสอบสิทธิ จากทางลิงค์ของโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ กแรกเกิด โดยระบุว่า

เรื่องการตรวจสอบสิทธิจากทางลิงค์ของโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ กแรกเกิด

ตรวจสอบแล้วพบว่ามีสถานะ (E20 ข้อมูลที่ปฏิเสธการจ่ายเงิน) ให้ตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคล ดังคำแนะนำในรูปภาพที่แนบมาด้วยนี้

หากพบว่าจะต้องทำการแก้ไขข้อมูล ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องโดยด่วน ต้องทำการแก้ไขข้อมูลให้ทันภา ยใ นวันที่ 25 ของเดือน จึงจะมีผลการเบิกจ่ายในเดือนถัดไป

ผู้ลงทะเบียนส่วนภูมิภาค โปรดติดต่อ พมจ. (วันเวลาราชการ)

ผู้ลงทะเบียน กทม. โปรดติดต่อกรมกิจการเด็กและเยาวชน (วันเวลาราชการ)

สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์ปฏิบัติการโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ กแรกเกิด โทร. เบอร์ตรง 0 2651 6534, 0 2651 6920, 0 2651 6902 หรือ 0 2255 5850-7 ต่อ 121, 122, 123, 147, 152 (โปรดติดต่อตามวันเวลาราชการ)

สายด่วน พม. โทร. 1300 ตลอด 24 ชั่ วโมง

เงินอุดหนุนบุตร

การได้รับอุดหนุนบุตร 600 บาทนั้น กรมบัญชีกลางจะดำเนินการโอนเข้าบัญชีโดยตรง ตามรอบที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว โดยจะเป็นการโอนต่อเนื่องทุกเดือน จนกระทั่งบุตรมีอายุครบ 6 ขวบเต็ม

การตรวจสอบสิทธิ เงินอุดหนุนบุตร ด้วยตนเอง

กรมกิจการเด็ กและเยาวชน ได้จัดทำระบบตรวจสอบสิทธิด้วยตนเอง (Self Service) ของผู้มีสิทธิรับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูบุตรแรกเกิด โดยใช้หมายเลขบั ตรปร ะช าช นของผู้ปกครอง และบุตรที่ยื่นขอรับสิทธิเงินอุดหนุนฯ การเข้าสู่ระบบ ก็ทำได้ทั้งการสแกน QR cord หรือตามลิงก์ เงินอุดหนุนบุตร

5 ขั้นตอนตรวจสอบ

1 เข้าไปที่เว็บไซต์ กรมกิจการเด็ กและเยาวชน ตรวจสอบสิทธิ 

2 ระบุเล ขป ระจำตั วป ระชาช นผู้ลงทะเบียน

3 ระบุเล ขป ระจำตั วป ระช าช นบุตรแรกเกิด

4 ระบุรหัสยืนยันรูปภาพ

5 กดค้นหาข้อมูล สำหรับข้อมูลดังกล่าวจะมี Update สถานะการจ่ายเงินของทุกรอบเดือน

สถานที่รับลง ทะเบียนเงินอุดหนุนบุตรปี 63

กรุงเทพมหานคร : ลงทะเบียนได้ที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่พักอาศัยอยู่

เมืองพัทย า : ลงทะเบียนได้ที่ศาลาว่าการเมืองพัทย า

ส่วนภูมิภาค : ลงทะเบียนที่สำนักงานเทศบาล หรือที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลตามภูมิลำเนา

คุณสมบัติผู้มีสิทธิรับเงินอุดหนุนบุตร 600 บาท

เ ด็กแรกเกิดที่มีสิทธิ์ต้องมีสัญชาติไทย

พ่อแม่ของเ ด็กต้องมีสัญชาติไทย หรือคนใดคนหนึ่งมีสัญชาติไทย

เด็ กต้องเกิดตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป จนมีอายุครบ 6 ขวบ

อาศัยอยู่กับผู้ปกครองที่อยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้น้อย

ไ ม่อยู่ในสถานสงเค ราะห์ของหน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน

ผู้ปกครองที่มีสิทธิ์ลงทะเบียน

มีสัญชาติไทย

เป็นบุคคลที่รับเด็ กแรกเกิดไว้ในอุปการะ (ไม่ใช่พ่อแม่ก็ได้)

เด็ กแรกเกิดต้องอาศัยรวมอยู่ด้วย

อยู่ในครอบครัวที่มีรายได้น้อย คือ สมาชิกในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไ ม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปี

เอกสา รที่ใช้ลงทะเบียน

แบบคําร้องขอลงทะเบียน (ดร.01)

แบบรับรองสถานะของครัวเรือน (ดร.02) 

แบบรับรองสถานะของครัวเรือน (ดร.02)

บัต รประจําตั วป ระช าช นของผู้ปกครอง

สูติบัตรเด็ กแรกเกิด

สมุดบัญชีเงินฝากของผู้ปกครอง (บัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย บัญชีเงินฝากเผื่อเรียก ธนาคารออมสิน หรือบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น)

สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ ก เฉพาะหน้าที่ 1 ที่มีชื่อของหญิงตั้งครรภ์ ในกรณีที่สมุดสูญหาย ให้ใช้เฉพาะสําเนาหน้าที่ 1 พร้อมให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขบันทึกข้อมูลและรับรองสําเนา

กรณีที่ผู้ยื่นคําร้องขอลงทะเบียนและสมาชิกในครัวเรือนของผู้ยื่นคําร้องขอลงทะเบียนเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานบริษัท ต้องมีเอกส าร ใบรับรองเงินเดือน หรือหนังสือรับรองรายได้ของทุกคนที่มีรายได้ประจํา (สลิปเงินเดือน หรือเอกสา รหลักฐานที่นายจ้างลงนาม)

สําเนาเอกสา ร หรือบัตรข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ บัตรแสดงสถานะหรือตําแหน่ง หรือเอกสาร อื่นใดที่แสดงตนของผู้รับรองคนที่ 1 และผู้รับรองคนที่ 2

มารดาที่อยู่ระหว่างการตั้งครรภ์ ยังไ ม่ต้องมายื่นคําร้องขอลงทะเบียนขอรับสิทธิ์เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ กแรกเกิดแต่อย่างใด

ที่มา thebangkokinsight

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

71 + = 80

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า