เดี๋ยวนี้ เป็นกันเยอะ แต่ไม่รู้ตัว สัญญาณ เ ตื อ  น “ไ บ โ พ ลาร์”

มา เ ช็ ค กัน !! สัญญาณ เ ตื อ  น ว่าคุณ เข้าข่ายเป็น “ไ บ โ พ ลาร์” หรือไม่?

โ ร ค ไบโพลาร์ (Bipolar disorder) เป็น โ ร ค ที่ทำให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ มีอารมณ์สองขั้วที่เปลี่ยนแปลงไปมาอย่างชัดเจน แบบที่หนึ่งคือมีพฤติ ก ร ร ม แบบเศร้า และแบบที่สองมีอาการพลุ่งพล่าน หรือเรียกว่าแบบแมเนียอารมณ์ของผู้ที่เป็น โ ร ค นี้จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นช่วงๆ ไป อาจมีอาการแบบแรก คือแบบเศร้าก่อน แล้วสักพักก็จะมีอาการแมเนีย บางคนอาจมีอาการแบบแมเนียก่อน แล้วจึงมีอาการแบบเศร้าขึ้นมา หรืออาจจะสลับกับอาการปกติต่อเนื่องกันไป หากใครมีอาการคล้ายๆแบบนี้หรือคนใกล้ตัวอยู่ในกลุ่มที่สุ่ม เ สี่ ย ง ควรพาไปพบแพทย์เพื่อขอคำแนะนำ และทำการรักษาตั้งแต่เนิ่นๆนะคะ เพื่อป้องกันปัญหา ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระยะถัดไป

สาเหตุของ โ ร ค ไบโพลาร์

ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของความผิดปกติทางอารมณ์นั้นมีได้หลายสาเหตุ ดังนี้

– ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่างๆ ในร่างกาย การนอนหลับที่ผิดปกติ ความผิดปกติของการทำงานในส่วนต่างๆ ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมอารมณ์

– ปัจจัยทาง จิ ต สังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความ เ ค รี ย ด หรือปัญหาต่างๆ ในชีวิตได้ ก็สามารถกระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยทางสังคมไม่ใช่ ส า เ หตุ ของโ ร ค แต่อาจเป็นตัวกระตุ้นให้ โ ร ค แสดงอาการได้

– ปัจจัยทางพันธุศาสตร์ ขณะนี้ยังไม่ทราบรูปแบบของการถ่ายทอดผ่านยีนส์ที่ชัดเจนของ โ ร ค แต่จากการศึกษาพบว่าสามารถพบ โ ร ค นี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่วยเป็นไบโพลาร์มากกว่าในประชากรทั่วไป

ภาวะอารมณ์ขั้วบวก +

+ ความคิดแล่นเร็ว

+ วอกแวก ไม่มีสมาธิ

+ นอนมากขึ้น หรือ พักผ่อนน้อยลง

+ พูดเร็ว หรือพูดมากกว่าปกติ

+ ห งุ ด ห งิ ด ง่าย หรือ อารมณ์ดีมากกว่าปกติ

+ คิดว่าตัวเองเก่ง หรือมีความสามารถมากกว่าปกติ

+ ทำพฤติก ร ร ม เ สี่ ย ง หรือกิจก ร ร มต่างๆมากกว่าปกติ

ภาวะอารมณ์ขั้วลบ –

– มีความ ทุ ก ข์ ใจ เศ ร้ าใจ

– มีความรู้สึกเบื่อหน่าย

จุดสังเกตุ

+ ครื้นเครง ร่าเริง หรือหงุดหงิดนาน 1 สัปดาห์

– ซึ มเ ศ ร้า เบื่ อ หน่าย เศร้าใจ นาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

− 4 = 1

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า