เ ผยข่าวดี โอมิครอน มีแววจะเป็นวัคซีนธรรมชาติ

เ ผยข่าวดี โอมิครอน มีแววจะเป็นวัคซีนธรรมชาติ 

เมื่อวันที่ 29 ธ.ค.ศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทย า คณะวิทย าศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย าลัย ได้โพสต์ข้อความระบุว่า

โพสต์ข้อความอ้างอิงผลวิจัยจากแอฟริกาใต้ ว่า ข่าวดีครับ โอไมครอน มีแววจะเป็น “วัคซีนธรรมชาติ” ในการยับยั้งโควิ ด สายพั นธุ์เดลตาได้
จากผลการวิจัยล่าสุดของประเทศแอฟริกาใต้ ที่ว่า “การติดเชื้ อโอไมครอน จะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน ต่อเดลตาด้วย” จริง ๆ เรื่องนี้เป็นสมมติฐานที่ในกลุ่มนักวิชาการ (ฝั่งที่มองโลกในแง่ดี) กับการระบ าดของ “Omicron” พูดถึงกันมาประมาณสักเดือนนึงได้แล้ว

เมื่อพิจารณาถึงการแ พร่ระบ าดสูง แต่ความรุนแ รงต่ำกว่า “เดลตา” ของ “โอไมครอน” ที่เกิดขึ้นในประเทศแอฟริกาใต้ (รวมถึงผลที่คล้าย ๆ กันในประเทศอื่น เช่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา australia และเดนมาร์ก) เพราะพฤติกรร มของ “โอไมครอน” ก็คล้าย ๆ กับสมัยเริ่มต้นของเดลตา ที่ระบา ดไปที่ไหนก็ไปแทนที่สายพัน ธุ์เดิม ๆ ได้ เพราะความสามารถในการติดเชื้ อ และเพิ่มจำนวนตัวในร่างกายผู้ป่ว ยนั้น ดีกว่าสายพั นธุ์เดิมมาก (คือ ถึงคนๆ เดียว ติดหลายสายพัน ธุ์พร้อมกัน สุดท้ายเดลตาก็ชนะ) ตอนนี้ “โอไมครอน” ก็มีแนวโน้มจะเข้าแทนที่ ขับไ ล่เดลตา (ซึ่งอาการรุนแร งมาก) ในแต่ละประเทศให้หายไปได้เช่นกัน

เนื่องจากมันมักจะติดเชื้ อ และเพิ่มเติมตัวได้ดีกว่าที่เ ซลล์ของระบบทางเดินหายใจช่วงบน ของร่างกายผู้ป่ว ย และ ความที่มันแ พร่กระจายได้ง่าย ใครติดเชื้ อก็แสดงอาการออกมาอย่างรวดเร็วใน 2-3 วัน อาการป่ว ย อยู่ในระดับใกล้เคียงกับไข้หวัดตามฤดูกาล และหายได้ในเวลาอันสั้นใน 7 วัน (ถ้าเป็นคนที่มีภูมิคุ้มกันอยู่แล้ว เช่น ได้รับการฉี ดวัคซีน หรือเคยป่ วยด้วย c o v i d สายพั นธุ์เดิม ๆ มาก่อน) 

คลื่นการแ พร่ระบ าดของมัน ก็จะคล้ายกับการระดมฉี ด “วัคซีนตามธรรมชาติ” อย่างรวดเร็วไปทั่วประเทศนั้น แถมเป็นวัคซีนที่มี IgA (immunoglobin A) ซึ่งไม่สามารถสร้างได้จากการผลิตวัคซีนตามปกติ เพิ่มขึ้นด้วย ดังนั้น ถ้าประเทศไทยเราเตรียมตัวรับมือได้ดี ระดมฉี ดวัคซีนได้ทั่วถึงเพียงพอ (โดยเฉพาะในเด็ กเล็ก และผู้สูงอายุ) กดความชันของกราฟการแพ ร่ระบา ดเอ าไว้ เราน่าจะผ่านคลื่น “โอไมครอน” ในเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ไปได้ และหวังว่า จะช่วยกวาดเอ า “สายพัน ธุ์เดลตา” ที่รุนแร งกว่า ออกไปด้วย เหมือนในประเทศอื่นได้ (สาธุ)

ทั้งนี้ ดร.เจษฎา ได้ยกผลวิจัย จากผลการศึกษาที่ตีพิมพ์โดยนักวิทย าศาสตร์ชาวแอฟริกาใต้พบว่า ผู้ติดเชื้ อไวรั ส C O V I D สายพัน ธุ์ “โอไมครอน” อาจมีภูมิคุ้มกัน “สายพั นธุ์เดลตา” ด้วย โดยการค้นพบอาจมีนัยสำคัญต่อประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา ที่การติดเ ชื้อโอไมครอนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างของสายพัน ธุ์โอไมครอนกับเดลตาคือ อาการป่ วยรุนแ รงน้อยกว่า

“การติดเ ชื้อสายพั นธุ์โอมิครอนจะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันชนิดลบล้างฤ ทธิ์ (Neutralizing Antibody) ที่สามารถต้า นไวรั สสายพั นธุ์เดลตา เนื่องจากโอไมครอน สามารถกระตุ้ นภูมิคุ้มกัน ทำให้การติดเชื้ อซ้ำกับเดลตามีโอกาสน้อยลง”

ทีมนักวิทย าศาสตร์นำโดย Khadija Khan จากสถาบันวิจัยสุขภาพแอฟริกาเขียนไว้ในผลการวิจัยของพวกเขา ในการวิจัยเกิดจากการติดตามผู้ติดเ ชื้อจำนวน 13 คน โดย 11 คนในนั้นติดเชื้ อด้วยตัวแปรโอมิครอน โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 7 ราย ที่ได้รับการฉี ดวัคซีน โดยได้ทั้งวัคซีนของ Pfizer, BioNTech และ johnson & johnson โดยการตอบสนองของแอนติบอดีของผู้ที่ติดเชื้ อโอมิครอน ดูเหมือนจะเพิ่มการป้องกันตัวแปรเดลตาได้มากกว่า 4 เท่าในสองสัปดาห์ หลังจากที่ผู้เข้าร่วมลงทะเบียนในการศึกษา โดยผู้เข้าร่วมยังแสดงให้เห็นว่า ความสามารถของแอนติบอดีในการสกัดกั้นการติดเชื้ อโอมิครอนได้เพิ่มขึ้น 14 เท่า

ดังนั้น หากสายพั นธุ์โอมิครอนแทนที่เดลตา และไม่รุนแร งกว่าสายพั นธุ์ในอดีต ความร้า ยแ รงะลดลง และการติดเชื้ ออาจเปลี่ยนไปรบกวนบุคคลและสังคมน้อยลง

อย่างไรก็ตาม การศึกษายังไม่ได้รับการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญคนอื่น ๆ ในสาขานี้ และยังไม่ชัดเจนว่าการป้องกันที่เพิ่มขึ้นนั้นเกิดจากแอนติบอดีที่มาจากโอมิครอน, การฉี ดวัคซีน หรือภูมิคุ้มกันจากการติดเชื้ อครั้งก่อนหรือไม่ แต่บุคคลที่ได้รับการฉี ดวัคซีนแสดงให้เห็นถึงการป้องกันที่แข็งแกร่งขึ้น

 อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาจากแอฟริกาใต้และสหราชอาณาจักรพบว่า ผู้ที่ติดเ ชื้อโอมิครอน จะมีอาการป่ว ยที่ไม่รุนแร ง โดยผู้ติดเชื้ อโอมิครอนมีโอกาสเกิดโร คร้า ย แร งน้อยกว่า 70% เมื่อเทียบกับเดลตา แต่ก็มีการตั้งข้อสังเกตว่า “เป็นข้อมูลเบื้องต้นและมีความไม่แน่นอนสูง” เนื่องจากโอไมครอนยังไม่แพ ร่กระจายอย่างกว้างขวางในกลุ่มอายุสูงอายุและกลุ่มอายุที่มีความเสี่ ยงมากขึ้น แต่นักระบา ดวิทย าเตื อนว่า แม้โอมิครอนจะรุนแร งน้อยกว่าเดลตา แต่ก็ยังสามารถสร้างภาระให้โรงพย าบาลได้ง่าย ๆ ด้วยการแ พร่กระจายเร็วกว่าเดลตามาก

โดยองค์การอนามัยโลก กล่าวว่า โอมิครอนกำลังแพ ร่กระจายเร็วกว่าเชื้ อโควิ ดรุ่นก่อน ๆ การศึกษาจากฮ่องกงพบว่าโอมิครอนแพ ร่กระจายได้เร็วกว่า 70 เท่าในทางเดินหายใจของมนุษย์ แต่การติดเชื้ อในป อดนั้นรุนแร งน้อยกว่า

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

81 − 79 =

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า