3 สัญญ าณอันตร าย อาการสังเกตก่อนหัวใจวาย

3 สัญญ าณอันตร าย อาการสังเกตก่อนหัวใจวาย

ภาวะหัวใ จวายหรือหัวใ จล้มเหลว เกิดจากการทำงานผิ ดปกติของหัวใ จ ทำให้ไม่สามารถสู บฉี ดเลื อดไปเลี้ยงได้เพียงพอ ความรุนแร งมีทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้ อรัง ดังนั้นการสังเกตอาการจึงเป็นเรื่องสำคัญ เพราะหัวใ จเป็นอวัยวะที่รีรอไม่ได้ ถ้าเกิดเห ตุการณ์ที่ไม่คาดฝันขึ้น การรู้เร็วย่อมดูแลตัวเองได้ถูกวิธีและลดความเสี่ย งในการเสี ยชีวิตจากหัวใ จวายได้

นพ.วิชัย จิรโรจน์อังกูร อายุรแพทย์โ รคหัวใ จ โรงพย าบาลหัวใ จกรุงเทพ กล่าวว่า หัวใ จวายสามารถเกิดได้จากหลายสาเ หตุ เช่น เส้นเลื อดหัวใ จตีบ หรืออุดตันเฉียบพลัน จึงทำให้กล้ามเนื้ อหัวใจตา ย ส่งผลให้การบีบตัวของหัวใ จลดลง ลิ้ นหัวใ จผิ ดปกติ เช่น ลิ้ นหัวใ จตี บรุนแร ง ทำให้การสู บฉี ดเลื อดลดลง หรือลิ้ นหัวใ จรั่วเฉียบพลัน ทำให้ปริมาณเลื อดออกจากหัวใจลดลง กลุ่มของโร คต่อ มไร้ท่อ เช่น ไท รอ ยด์เป็นพิ ษ และผู้หญิงที่มีอาการของครรภ์เป็นพิ ษ

3 อาการต่อไปนี้อาจเป็นสัญญ าณเตือ นที่บอกว่าหัวใจกำลังจะวา ยหรือล้มเห ลว ได้แก่

เหนื่อยง่าย 

อาการเหนื่อยอาจบ่งบอกว่าหัวใ จมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ลดลง ความรุนแร งของโ รคมักจะสัมพันธ์กับกิจกรร มที่ทำ หากมีอาการเหนื่อยอยู่ตลอดเวลาจะสื่อถึงความผิ ดปกติที่รุนแร ง

แ สบแน่นหน้าอ ก จุกแน่นลิ้ นปี่

อาการแส บแน่นหน้า อ ก บ่งบอกว่าหัวใจเกิดการขาดเลื อด ส่วนใหญ่แล้วจะรู้สึกแน่นบริเวณกลางหน้า อ ก อาจมีปว ดร้ าวจากคอขึ้นไปกราม มีอาการตึงๆ ชาๆ ที่หัวไหล่ไปถึงช่วงแขน รู้สึกเหมือนมีของหนักทับ หากมีอาการเหล่านี้นานเกิน 20 นาที อาจส่งผลให้กล้ามเ นื้อหัวใ จต าย ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใ จลดลง

อึดอัดเวลานอนราบ

จะรู้สึกอึดอัดเวลานอนราบ อาจเป็นสัญญ าณที่บอกว่าปริมาณน้ำในหัวใ จเพิ่มขึ้นจากการทำงานของหัวใจที่ผิ ดปกติค่อนข้างรุนแร ง

ตรวจสุขภาพหัวใจ ลดเสี่ ยงเสี ยชีวิตจากโร คหัวใ จ

สำหรับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มที่เส้นเลื อดหัวใ จจะเกิดการเปลี่ยนแปลงจนส่งผลกระทบกับสุขภาพในอนาคตได้ จึงควรตรวจสุขภาพหัวใจเพื่อหาปัจจัยเ สี่ยงที่สามารถป้องกันได้ตั้งแต่เนิ่นๆ รวมถึงการตรวจหาคร าบหินปูนที่หลอดเลื อดแดงของหัวใ จ (Coronary Artery Calcium Score หรือ CAC) เป็นการหาคราบหินปูนที่เกาะตามผนังหลอดเลื อดหัวใจโดยไม่ต้อง ฉี ดสี ใช้เวลาตรวจเพียง 10-15 นาที คะแนนที่ตรวจได้ไม่ควรเกิน 400 คะแนน เพราะอาจหมายถึงความเสี่ย งต่อการเกิดหลอดเ ลือดหัวใ จตี บ กล้ามเ นื้อหัวใ จขาดเลื อดเฉียบพลัน โร คหลอดเลือ ดหัวใ จตีบหรือตันรุนแร ง จนนำไปสู่ภาวะหัวใ จวายได้ โดยแพทย์จะทำการประเมินอาการและให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด หากรู้ถึงความเ สี่ยงได้โดยเร็ว จะสามารถปรับพฤติกรร มให้เหมาะสม

การพบแพทย์เพื่อตรวจเช็ กหัวใ จเชิงลึ กอย่างต่อเนื่อง ช่วยให้หัวใ จแข็งแ รงได้ในระยะยาว และป้องกันการเ สียชีวิตจากโร คหัวใ จก่อนวัยอันควรได้ รวมถึงการไม่ประมา ท เลือกรับประทานอาหารและเลี่ย งพฤติกร รมต่างๆ ที่เสี่ย งต่อโ รคหัวใ จ ที่สำคัญผู้ป่ว ยโ รคหัวใ จต้องพกย าติดตัวไว้เสมอและรับประทานย าตามคำสั่งของแพทย์อย่างต่อเนื่อง

ขอขอบคุณข้อมูล :นพ.วิชัย จิรโรจน์อังกูร อายุรแพทย์โ รคหัวใ จ โรงพย าบาลหัวใ จกรุงเทพ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

48 − 41 =

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า