โอไมครอน vs. เดลตา ต่างกันอย่างไร อันตร ายแค่ไหน?
การแพ ร่ระบา ดของเชื้ อโควิ ดสายพั นธุ์โอไมครอน ซึ่งเป็นสายพัน ธุ์ล่าสุดที่พบครั้งแรกในแอฟริกาใต้ ก่อให้เกิดความกังวลต่อนานาชาติรวมถึงไทย โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้โควิ ดโอไมครอนอยู่ในกลุ่มสายพั นธุ์ที่น่ากังวล (Variant of Concern) ท่ามกลางการจับตามองถึงอันตรา ยที่แท้จริงของไวรั สสายพั นธุ์นี้ หลังมีการเผยแ พร่ข้อมูลจากฝั่งผู้เชี่ยวชาญ ชี้ความเป็นไปได้ที่โค วิดโอไมครอนอาจแพ ร่ระบ าดได้ง่ายกว่าสายพั นธุ์ก่อนหน้า โดยเฉพาะเดลตาซึ่งเป็นสายพั นธุ์ที่ระบ าดรุนแ รงในหลายประเทศทั่วโลกมาตั้งแต่ต้นปี
คำถามคือ โอไมครอนนั้นอันตร ายมากกว่าเดลตาหรือไม่ และข้อมูลที่มีอยู่ในตอนนี้ให้คำตอบอะไรเราได้บ้าง?
โอไมครอนเล วร้า ยกว่าเดลตาไหม?
– จนถึงตอนนี้ยังเร็วไปที่จะบอกได้ว่าเชื้ อโควิ ดสายพั นธุ์โอไมครอนนั้นเล วร้า ยกว่าสายพั นธุ์เดลตาหรือไม่ โดยข้อมูลเบื้องต้นพบว่า การกลายพัน ธุ์ของโอไมครอนบางจุดมีความคล้ายคลึงกับเดลตา รวมถึงสายพัน ธุ์ก่อนหน้าอย่างอัลฟา แกมมา และเบตา ซึ่งทั้งหมดถูก WHO จัดให้อยู่ในกลุ่มสายพั นธุ์ที่น่ากังวล หมายความว่าโอไมครอนนั้นก็สามารถแพ ร่ระบ าดได้ง่ายมากเช่นกัน
– อันต รายของโอไมครอนที่น่ากังวล คือมันอาจสามารถหลบเลี่ย งภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการกระตุ้ นของวัคซีนได้ และอาจทำให้วัคซีนโควิ ดที่มีอยู่มีประสิทธิภาพต้านทานการติดเ ชื้อที่ลดลง
– การกลายพั นธุ์ของโอไมครอนมีจำนวนกว่า 50 จุด ซึ่งมากกว่าเดลตา และ 32 จุดเกิดขึ้นในส่วนโปรตี นหนาม ซึ่งเป็นส่วนที่ไวรั สใช้เกาะติดกับเ ซลล์ในร่างกายมนุษย์เพื่อก่อให้เกิดการติดเ ชื้อ ขณะที่โปรตี นหนามของไวรั สเป็นส่วนสำคัญที่วัคซีนใช้เพื่อกระตุ้น การสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกาย
– ส่วนเดลตาก็มีการกลายพั นธุ์ในส่วนที่น่าก ลัวและมีการระบ าดที่รวดเร็ว ทำให้มันยังเป็นไวรั สโควิ ดที่อันต รายที่สุดเมื่อเทียบกับสายพั นธุ์ก่อนหน้า
– อย่างไรก็ตาม การกลายพั นธุ์ของโอไมครอนที่มากกว่าเดลตา โดยเฉพาะในส่วนโปรตี นหนาม ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าโอไมครอนนั้นอันตรา ยมากกว่าเดลตา ซึ่งจำเป็นต้องรอผลทดสอบที่ชัดเจนจากทีมวิจัยทั่วโลก
– โดยนับตั้งแต่ที่พบการแพ ร่ระบา ดของโอไมครอนในแอฟริกาใต้จนถึงตอนนี้ ทีมนักวิทย าศาสตร์จากหน่วยงานและบริษัทผลิตวัคซีนของประเทศต่างๆ หลายทีม กำลังพย าย ามทดสอบตัวอย่างไวรั สที่ได้จากผู้ติดเชื้ อ และวิเค ราะห์การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกร รมของโอไมครอน เพื่ออธิบายว่าอะไรทำให้มันอาจเป็นเชื้ อโค วิดสายพัน ธุ์ที่อันตรา ยที่สุด
– ขณะที่ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุก รรมบางคน ชี้ว่าโอไมครอนนั้นไม่ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรร มในบางส่วน ซึ่งเป็นจุดที่ทำให้เดลตาแ พร่ระบา ดได้ง่ายมากขึ้น
“เนื่องจากโอไมครอนขาดการกลายพั นธุ์ในส่วนที่ไม่ใช่โปรตี นหนามจำนวนมาก ซึ่งดูเหมือนจะเป็นส่วนที่ช่วยให้ความแข็งแรงของเดลตาเพิ่มมากขึ้น ผมจะไม่แปลกใจเลย หากประสิทธิภาพในการแพ ร่ระบ าดแท้จริงของโอไมครอนจะคล้ายกับแกมมา” เทรเวอร์ เบดฟอร์ด นักวิทย าศาสตร์ด้านพันธุกรร มและนักระบ าดวิทย าจากมหาวิทย าลัยวอชิงตันและศูนย์โร คมะเ ร็งเฟรด ฮัทชินสัน ในซีแอตเทิล กล่าว
– คาดว่าการทดสอบนั้นอาจต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์กว่าที่จะสามารถบอกได้ว่า โอไมครอนอันตรา ยมากแค่ไหน และสามารถก่อให้เกิดการติดเชื้ อที่นำไปสู่อาการรุนแร งได้ไหม รวมถึงตอบคำถามสำคัญคือ “วัคซีนที่มีอยู่ตอนนี้ยังมีผลต้า นทานโควิ ดโอไมครอนอยู่หรือไม่?”
อาการของผู้ติดเชื้ อโอไมครอนและเดลตา มีอะไรบ้าง?
– ดร.แองเจลิก โคเอตซี (Angelique Coetzee) แพทย์ชาวแอฟริกาใต้ที่มีส่วนช่วยในการค้นพบโควิ ดสายพัน ธุ์โอไมครอน เปิดเผยต่อสำนักข่าว BBC ว่า ผู้ติดเชื้ อโควิ ดสายพั นธุ์นี้มีอาการ ‘น้อยมาก’ โดยอาการต่างๆ รวมถึง อ่อนเพลีย ปว ดศีรษะ และเ จ็บคอ แต่ไม่สูญเ สียการรับรู้กลิ่นหรือรส เหมือนกับไวรั สโควิ ดสายพั นธุ์อื่น
– ขณะที่โควิ ดสายพัน ธุ์เดลตา มีอาการแ ตกต่ างกับสายพั นธุ์อื่นๆ ก่อนหน้าเช่นกัน โดยมีอาการไอและสูญเสียการรับรู้กลิ่นที่น้อยกว่า และจากงานวิจัยในสหราชอาณาจักร พบว่าปัจจุบัน ผู้ติดเชื้ อโควิ ดสายพั นธุ์เดลตาจำนวนมากมีอาการป วดศีรษะและน้ำมูกไหล
– อย่างไรก็ตาม จากอาการดังกล่าว ยังเร็วเกินไปที่จะอ้างได้ว่าผู้ติดเชื้ อโควิ ดโอไมครอนนั้นมีอาการที่เล วร้ ายกว่าเดลตา แม้จะมีหลักฐานจากคำบอกเล่าที่ระบุว่าผู้ติดเชื้ อโควิ ดโอไมครอนมีอาการป่ วยที่ไม่รุนแ รง และมีแนวโน้มที่กลุ่มคนอายุน้อยและเ ด็กจะเกิดอาการป่ วยรุนแ รงได้น้อยกว่ากลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งจากข้อมูลของหน่วยงานสาธารณสุขแอฟริกาใต้พบว่า ผู้ติดเชื้ อโควิ ดโอไมครอนส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนอายุน้อย
ที่มา เดอะสแตนดาร์ด