รีวิ วฉี ด ChulaCOV19 วัคซีน mRNA ตัวแรกของไทย

รีวิ วฉี ด ChulaCOV19 วัคซีน mRNA ตัวแรกของไทย 

หลังจาก โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และ ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกันแถลงถึงความก้าวหน้าล่าสุดของการพัฒนา วัคซีน ChulaCov19 (จุ-ฬา-คอฟ-ไนน์-ทีน) และความพร้อมในการทดสอบในอาสาสมัคร เมื่อราวกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2564

ไม่นาน ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ ผู้อำนวยการโรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย าลัย เปิดเผยว่า วันที่ 14 มิถุนายน 2564 เป็นวันแรกที่มีการฉี ดวัคซีน ChulaCov19 อาสาสมัครในระยะที่ 1 และต่อเนื่องไปในระยะที่ 2 ภายใต้การควบคุมดูแลจากหลายภาคส่วน

สำหรับวัคซีน ChulaCov19 เป็นการคิดค้นออกแบบและพัฒนาโดยคนไทย จากความร่วมมือสนับสนุนโดยคุณหมอนักวิทย าศาสตร์ผู้คิดคนเทคโนโลยีนี้คือ Prof.Drew Weissman มหาวิทย าลัยเพนซิลวาเนีย วัคซีน ChulaCov19 ผลิตโดยสร้างชิ้นส่วนขนาดจิ๋วจากส ารพันธุกร รมของเชื้ อไวรั สโคโ รน า (ไม่มีการใช้ตัวเชื้ อแต่อย่างใด) เมื่อร่างกายได้รับชิ้นส่วนของสา รพันธุกรร มขนาดจิ๋วนี้เข้าไป จะทำการสร้างเป็นโปรตี นที่เป็นส่วนปุ่มหนามของไวรั สขึ้น (spike protein) และกระตุ้ นให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันไวเตรียมต่อสู้กับไวรั สเมื่อไปสัมผัสเชื้ อ เมื่อวัคซีน mRNA ทำหน้าที่ให้ร่างกายสร้างโปรตี นเรียบร้อยแล้ว ภายในไม่กี่วัน mRNA จะถูกสลายไปโดยไม่มีการสะสมในร่างกายแต่อย่างใด

ล่าสุด (12 สิงหาคม) นายสุกฤษฏิ์ ธีระปัญญารัตน์ หรือผู้ใช้เฟซบุ๊ก Sukrit Terapanyarat หนึ่งในอาสาสมัครเข้ารับวัคซีน ChulaCov19 ครบแล้ว 2 เข็ม (เข็มแรกวันที่ 24 มิถุนายน 2564 และเข็มที่ 2 วันที่ 15 กรกฎาคม 2564) เผยถึงประสิทธิภาพวัคซีน mRNA ตัวแรกของไทย ท่ามกลางสถานการณ์ที่คนในครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นบุคคลใกล้ชิด ติดเชื้ อ ทว่า ตนเองซึ่งอยู่ในภาวะเสี่ ยงติดเชื้ อ จำนวน 3 ครั้ง ตรวจหาเชื้ อ 3 รอบ ปรากฏว่าไม่ติดเชื้ อแต่อย่างใด

นายสุกฤษฏิ์ระบุว่า ว่าด้วยประสิทธิภาพวัคซีน ChulaCOV-19 วัคซีน mRNA ตัวแรกของไทย ก่อนอื่นต้องอธิบายว่าทางโครงการวิจัยไม่ได้มีการเปิดเ ผยเลขภูมิคุ้มกันของวัคซีนแก่อาสาสมัคร เพียงแต่บอกได้ว่ามันดีมาก ดังนั้น นี่จะเป็นการรีวิวและอธิบายจากประสบการณ์จริง เมื่อที่บ้านและออฟฟิศของผม ติดโควิ ดเกือบยกครัว แต่ “ผม” เป็นคนเดียวที่ไม่ติด

“1.วัคซีน ChulaCOV ถูกพัฒนาขึ้นโดยศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ โดย ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม

“2.วัคซีน ChulaCOV เป็นวัคซีนชนิด mRNA ที่มีพัฒนาและวิจัยต่อยอดจาก Moderna ดังนั้น ประสิทธิภาพที่ออกมาจึงมั่นใจได้ว่าเทียบเท่า Pfizer และ Moderna หรืออาจจะดีกว่าสำหรับการป้องกันไวรั สสายพั นธุ์เดลต้า เพราะกำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาต่อไปหลังจากทดสอบกับอาสาสมัคร กลุ่มแรก

“3.ผมได้รับวัคซีนขนาด 25 ไมโครกรัม (ใช้น้อยกว่า Pfizer) จำนวน 2 โดส ฉี ดห่างกัน 3 สัปดาห์

“4.อาการและผลข้างเคียง : [โดสแรก] วันที่ 24 มิ.ย.64 มีอาการปว ดหัวและอ่อนเพลียอย่างเห็นได้ชัดต่อเนื่องราวๆ 2-3 วัน ไม่มีไข้ และยังทำงานได้ปกติ

“[โดสสอง] วันที่ 15 ก.ค. 64 ปว ดหัวหนักกว่าโดสแรก หลังจากฉี ด 2 ชั่ วโมง และถึงขั้นซมหลังฉี ด 6 ชั่ วโมง มีไข้หรือตัวรุมๆ แต่ไข้ไม่สูง ป วดหัวตลอดทั้งคืน กว่าจะทุเลาลงก็คือวันที่สอง ซึ่งนอนซม รบกวนการทำงานแน่นอน หลังจากนั้นไข้หายในสองวัน ส่วนอาการป วดหัวจะต่อเนื่องไปร่วม 3-4 วันเลยทีเดียว

“5.หลังจากฉี ดวัคซีนครบสองโดสได้ราวหนึ่งสัปดาห์ พ่อของผมเริ่มมีอาการป่ว ย ปว ดหัว ไอ ส่วนพนักงานที่ออฟฟิศไปตรวจโควิ ด Rapid Antigen Test ผลปรากฏว่าติดโควิ ด จึงมีการตรวจกันทั้งบ้าน

“ผลลัพธ์ : พนักงานออฟฟิศติด 2 คน ไ ม่ติด 1 (ซึ่งคนที่บ้านของพนักงานติดเกือบยกครอบครัว), และพ่อของผม

“6.เพื่อความแน่ใจ ทางโครงการวิจัยได้นัดให้ผมไปตรวจ RT-PCR อีกรอบ เพราะผมกลายเป็นกลุ่มเสี่ ยงใกล้ชิดผู้ป่ วย ซึ่งผลออกมาว่า ผมไม่มีเชื้ อโควิ ดจริงๆ

“7.คุณพ่อมีอาการหนักสุด ส่วนพนักงานแทบไม่มีอาการ ได้ทำการรักษาตามอาการแบบ Home Isolation แยกบ้านกันอยู่

“8.เห ตุการณ์เหมือนจะไม่มีอะไร แต่หลังจากนั้นประมาณ 1 สัปดาห์ อยู่ๆ อาการคุณพ่อก็ทรุดหนัก ไข้ขึ้นสูง SpO2 ลดลงต่อเนื่องจาก 95 เหลือ 92 ในตอนเย็น และเหลือ 89 ในตอนกลางคืน ไม่ค่อยมีสติและลำบากในการสื่อสา ร

“9.ด้วยความจำเป็นที่จะต้องหาโรงพย าบาลด่วน ซึ่งอย่างที่ทุกคนทราบคือ ทุกที่เตียงเต็ม แต่โชคดีที่ติดต่อโรงพย าบาลสมุทรสาครได้ ถึงกระนั้น โรงพย าบาลก็ไม่มีรถฉุกเ ฉิน จำเป็นที่เราจะต้องขับรถไปเอง

“วันนั้น (29 ก.ค.) หลังจากเพิ่งตรวจ RT-PCR ในวันเดียวกัน ผมต้องใกล้ชิดคุณพ่อที่เป็นผู้ป่ วยอีกครั้ง ครั้งนี้มีการสัมผัสและใกล้ชิดมาก แต่ด้วยความจำเป็นต้องพาไปโรงพย าบาล จึงไม่มีทางเลือก (อุปกรณ์ป้องกันมีเพียงหน้ากากอนามัยสองชั้น face shield และถุงมือยาง)

“10.พ่อของผมโชคดีที่ห้อง ER มีเตียงว่าง ได้รับการรักษาและรับย าฟาวิพิราเวียร์ทันที แม้จะยังไม่เคยตรวจ PCR มาก่อน ก่อนจะได้แอดมิทที่โรงพย าบาลสมุทรสาคร แม้จะเป็นผู้ป่ วยนอก ซึ่งปัจจุบันอาการดีขึ้นมากแล้ว ย้ายไปโรงพย าบาลสนาม และใกล้จะได้กลับมารักษาตัวต่อที่บ้าน

“11.ส่วนตัวผมเองยังมีนัดต้องไปเ จาะเลือ ดเก็บตัวอย่างกับทางโรงพย าบาลจุฬาฯ เพื่อวัดภูมิวัคซีนหลังฉี ด 3 สัปดาห์ ซึ่งเป็นเวลาหลังจากผมสัมผัสผู้ป่ว ยโดยตรงประมาณ 12 วัน ไม่ได้มีอาการอะไร จึงได้ทำการ Rapid Antigen Test อีกครั้ง

“และผลก็ออกมาบอกว่า ผมไม่มีเ ชื้อ

“อย่างที่เห็นก็คือว่า ผมผ่านการเสี่ย งติดเชื้ อมาแล้วถึงสามครั้ง และตรวจสามรอบ

“ครั้งที่ 1 คือการทำงานในออฟฟิศ อยู่กับผู้ที่ติดเ ชื้อโควิ ด ในช่วงที่เชื้ อกำลังฟักตัวและไม่มีอาการ

“ครั้งที่ 2 หลังจากคนรอบข้างอาการเริ่มออก ผลจรวจออกมา เริ่มมีการให้พนักงาน WFH แต่ก่อนหน้านั้น ผมเองยังคงต้องขับรถ ร่วมโดยส ารกับผู้ที่ติดเชื้ อทุกวัน

“ครั้งที่ 3 กลับมาสัมผัสผู้ป่ว ยโควิ ดโดยตรงอีกครั้ง หลังจาก distancing กันมานานสัปดาห์นึง

“ด้วยผลทดสอบนี้ น่าจะบ่งบอกได้ดีถึงประสิทธิภาพของวัคซีน mRNA ได้ดีในระดับนึง และเป็นเห ตุผลว่าทำไมวัคซีน ChulaCOV น่าจะเป็นวัคซีนตัวความหวังของคนไทย

“สำหรับคำถามว่า ‘คนไทยจะได้ฉี ดวัคซีนตัวนี้เมื่อใด’ คำตอบก็คือ กว่าจะวิจัยพัฒนาและทดสอบกับอาสาสมัครกลุ่มสอง กลุ่มสามเสร็จ น่าจะช่วงไตรมาส 1-2 ของปี 2565 เลยครับ

“ถึงกระนั้น ถ้ามันฉุกเ ฉินจริงๆ ไม่แน่ว่าอาจจะมีการใช้วัคซีนตัวนี้เป็นเข็มสาม ในช่วงปลายปี

“และที่สำคัญที่สุด ถึงแม้จะได้วัคซีนที่ดีแล้วยังไง การ social distancing ก็ยังสำคัญ เพราะผลลัพธ์ที่เกิดกับสหรัฐ ตอนนี้ เป็นตัวอย่างที่ดีของการผ่อนคลายมาตรการควบคุมโ รค

“ขอบคุณครับ”

อย่างไรก็ดี  (11 สิงหาคม) น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เผยถึงความก้าวหน้าของการวิจัยพัฒนาวัคซีนโค วิ ด ชนิด mRNA ในประเทศไทยว่า ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้ทดสอบการฉี ดวัคซีน ChulaCov19 ให้กับอาสาสมัครแล้ว เพื่อศึกษาประสิทธิภาพสูงสุดของปริมาณวัคซีนที่จะสร้างภูมิคุ้มกันอย่างเหมาะสม ภายใต้การดูแลของทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ พย าบาล และทีมนักวิจัย และลำดับต่อไป จะเข้าสู่การทดสอบทางคลินิก ระยะที่ 2 จำนวน 150-300 คน คาดจะเริ่มต้นฉี ดได้ในเดือนสิงหาคมนี้

น.ส.รัชดากล่าวอีกว่า นายกรัฐมนตรีติดตามความคืบหน้าและชื่นชมในความสามารถของนักวิจัยไทย ภายใต้สถานการณ์โควิ ด คนไทยได้ผลิตผลงานที่เป็นความก้าวหน้าทางวิทย าศาสตร์การแพทย์ เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างมาก แม้ยังจะต้องใช้เวลาในการทดสอบผลให้แน่ชัดอีกระยะหนึ่ง แต่ความก้าวหน้าต่างๆ ถือเป็นตัวบ่งชี้ศักยภาพของประเทศที่เราจะสามารถลดการนำเข้าเวชภัณฑ์ เสริมความมั่นคงทางสาธารณสุข

ขณะที่วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคมนี้ โรงพย าบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ จะทำการไลฟ์สดแถลงข่าว “แพทย์จุฬาฯแจ้งข่าวดี ทดสอบวัคซีน ChulaCov19 ในอาสาสมัคร เร่งวิจัยต่อไป” ในเวลา 10.30 น.

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

60 ÷ 12 =

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า