พระ คาถา ชินบั ญชร สวดเป็นปร ะจำชีวิตจะเปลี่ยนดี ขึ้นทันตา
พระคาถาชินบัญชร จัดเป็นสุดยอดพระคาถา ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ที่บางท่านอาจจะสวดกันเป็นประจำอยู่แล้ว เป็นพระคาถาที่มีการถ่ายทอดและบอกต่อกันมาตั้งแต่โบราณ เป็นคาถา
ศักดิ์สิทธิ์ที่เมื่อใครได้สวดทุกเช้าค่ำ จะช่วยให้ชีวิตพบเจอแต่เรื่องดีๆ การสวดพระคาถาชินบัญชร ซึ่งถือเ ป็ นการอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มาสถิตอยู่กับเรา พุทธคุณทั้ง 9 ประการ ที่ประกอบไปด้วย
เมตต ามหานิยม แคล้วคลาด ปราศจากโ s ค ได้ลาภ ได้ยศ ค้าขายดี มีวิชาความรู้ เจริญรุ่งเรือง ผู้ใดที่สามารถท่องและจำได้เ ป็ นปกติถือว่ามีบุญมาก
ผู้ที่หมั่นท่องพระคาถาชินบัญชร ควรจะประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ใ นทำนองครองธssม ในโลกนี้อิทธิพลแพ้อิทธิฤ ท ธิ์ อิทธิฤ ท ธิ์แพ้บุญฤ ท ธิ์ บุญฤ ท ธิ์แพ้กssมวิบาก และฤทธิ์ของกssมลิขิต ไม่มีใครหนีพ้นกssมไปได้ เราได้บอกทุกครั้งว่า ท่านไม่ต้องเชื่อเราแต่ให้พิจารณาดูตามความเป็นไป
ความเป็นมาพระคาถาชินบัญชร
โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอด มาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณ และได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้น เป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวด
ภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอ จะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่าง ๆ เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น
วิธีการสวด พระคาถาชินบัญชร
ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม 3 จบ แล้วระลึกถึงเจ้าประคุณสมเด็จ
เริ่มสวด นโม 3 จบ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอ ธิษ ฐาน
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชๅโน ท้าวเวสสุวัณโณ
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
รากศัพท์ของคำว่า คาถา มาจากภาษาบาลีว่า กถา
แปลว่า วาจาเป็นเครื่องกล่าว ดังนั้นคำพูดของคนเรา ทุกคำก็คือคาถาทั้งสิ้น แต่คาถาในความ เข้าใจของทุกคน ไม่ใช่ความหมายเช่นนั้น
คาถาที่เรารู้จัก คือถ้อยคำอันศักดิ์สิทธิ์ ที่สามารถแสดงผลอันวิเศษแก่ผู้ที่ยึดถือท่องบ่น ใ นบรรดาคาถาที่ท่านผู้รู้ผูกขึ้นมานั้น คาถาชินบัญชร ของ สมเด็จพุฒาจารย์ หรือ หลวงพ่อโต วัดระฆัง นับว่าแพร่หลาย
ที่สุด คาถา ชินบัญชรนี้เพียบพร้อมไปด้วยอรรถและฉันทลักษณ์ ทั้งยังคงความเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์เ ป็ นอย่างยิ่ง
กระทั่งพระเครื่องสมเด็จวัดระฆังที่ลือลั่นส นั่นเมือง ก็ปลุกเสกด้วยพระคาถานี้เอง แต่ ว่าคาถาชินบัญชรนี้ ก็ยังมีแปลกแตกต่างไปหลายฉบับ บางฉบับก็เพิ่มมาหนึ่งบท
บางฉบับก็หดหายไปสองบรรทัด คาถาบางตัวก็ผิดเพี้ยนกันไป แต่นั่นไม่ใช่เ รื่ อ งแปลกอะไร ความ
ศักดิ์สิทธิ์ของคาถานั้น ขึ้นอยู่กับสมาธิจิตของผู้ท่องบ่น ต่อให้คาถาผิดพลาดเพียงไรก็ต าม หากจิตเ ป็ นสมาธิแนบแน่นมั่นคงเสียแล้ว ผลก็เ ป็ นไปต ามการอ ธิษ ฐานทุกประการ
หาก ท่านผู้อ่านผู้ฟังตัดความตะขิดตะขวงใจใ นตัวคาถาเสีย ตั้งใจท่องบ่นอย่างจริงจัง ผลดีย่อมบังเกิดแก่
ท่านอย่างไม่ต้องสงสัย และต้องอัศจรรย์ใจใ น คาถาอันวิจิตรไพเราะ ที่เป็นผลผลิตจากอัจฉริยภาพของเจ้าประคุณสมเด็จท่านเ ป็ นแน่แท้
พระราชพรหมย าน วีระ ถาวโร หลวงพ่อฤาษีลิงดำ แห่งวัดท่าซุง ได้พูดถึงพระคาถาชินบัญชรไว้ว่า พระ
คาถาชินบัญชรเ ป็ นพระคาถาสำคัญของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี วัดระฆังโฆสิต ารามวรมหาวิหาร เ ป็ นบทคาถาสำคัญที่เจ้าประคุณ สมเด็จใช้ปลุกเสกพระสมเด็จ คราวหนึ่งพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีรับสั่งถามเจ้าประคุณสมเด็จว่าเหตุใดพระสมเด็จวัดระฆังจึงศักดิ์สิทธิ์ เจ้าประคุณสมเด็จถวายพระพรตอบว่าเหตุที่สมเด็จวัดระฆัง มีความศักดิ์สิทธิ์เพราะปลุกเสกด้วยพระคาถาชินบัญชร
มีความนิยมสวดพระคาถาชินบัญชรมาตั้งแต่ครั้งที่เจ้าประคุณสมเด็จยังมีชีวิตอยู่ ตลอด มาจนกระทั่งถึงทุก
วันนี้ เพราะเชื่อว่าทรงอานุภาพ มีความศักดิ์สิทธิ์จริง ผมเองก็เคยสัมผัสพบเห็นเ ป็ นที่ประจักษ์หลายครั้ง และเพื่อนชาวพุทธจำนวนมากก็มีประสบการณ์จากการสัมผัสด้วยตนเอง เหตุนี้จึงเ ป็ น ที่นิยมสวดกันโดย
ทั่วไป เพราะเชื่อว่ามีอานุภาพ ในการคุ้มครองป้องกันสรรพภัย สรรพโ s ค สรรพทุกข์ และยังให้เกิดความมงคลแก่ชีวิต
เมื่อไม่กี่ปีมานี้เคยมีค นอ้างว่าต้นฉบับพระคาถาชินบัญชร มีมาแต่ครั้งที่พระพุทธศาส นารุ่งเรืองอยู่ใ นประเทศลังกา แล้วพระคาถานี้ก็เคยมีจารจารึกไว้ใ น คัมภีร์ใบลานที่ภาคเหนือ มีเนื้อความคล้ายคลึงกัน
แต่ก็ไม่มีหลักฐานใดยื นยันว่าเ ป็ นเช่นนั้น ซึ่งเ ป็ นเ รื่ อ งที่นักประวัติศาสตร์หรือนักปราชญ์ชาวพุทธต้อง ค้นคว้าหาความจริงกันต่อไป แต่ใ นชั้นนี้ก็พึงเ ป็ นที่เข้าใจว่า
พระคาถาชินบัญชรเ ป็ นคาถาสำคัญของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ความหมายและความสำคัญตลอดจนเหตุผลที่พระคาถานี้ มีความศักดิ์สิทธิ์ได้เคยเขียนใ นเชิงตอบคำถามไว้ใ นหนังสือเ รื่ อ ง ศิษย์สมเด็จ แล้ว ดังที่จะยกมาพรรณนาดังต่อไปนี้